คุณสมบัติ เป็นปุ๋ยเคมีชนิดเม็ด ประกอบด้วยปริมาณธาตุอาหารรับรอง ดังนี้
ไนโตรเจนทั้งหมด (N) 20 %
ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ (P2O5) 8 %
โพแทสเซียมที่ละลายน้ำ (K2O) 20 %
พืชที่แนะนำให้ใช้ ยางพารา
อัตราที่ใช้ วิธีใช้ และระยะเวลาที่ใช้
เป็นปุ๋ยเคมีที่ใช้บำรุงยางเล็กถึงก่อนเปิดกรีด ในเขตปลูกยางเดิม
การใส่ปุ๋ยเคมีบำรุงต้นยางมีหลายวิธี เช่น วิธีหว่านปุ๋ยกระจายเป็นแถบห่างจากโคนต้นประมาณ 1-2 เมตร แล้วคราดกลบ วิธีหว่านลงไปรอบ ๆ บริเวณโคนต้น วิธีหว่านแล้วคราดกลบ วิธีเจาะเป็นหลุมใส่ปุ๋ยเคมีแล้วกลบ และวิธีเจาะเป็นร่อง โดยมีอัตราที่ใช้และระยะเวลา ดังนี้
ปีที่ |
อายุต้นยาง เดือน |
อัตราปุ๋ยเคมี กรัมต่อต้นต่อครั้ง (ปีละสองครั้ง) |
|
ดินร่วนเหนียว |
ดินร่วนทราย |
||
1 |
2 |
70 |
100 |
|
5 |
100 |
140 |
|
11 |
130 |
170 |
2 |
14 |
150 |
200 |
|
16 |
150 |
210 |
|
23 |
150 |
210 |
3 |
28 |
230 |
320 |
|
36 |
230 |
320 |
4 |
40 |
240 |
330 |
|
47 |
240 |
330 |
5-7 |
52 |
260 |
360 |
|
84 |
260 |
360 |
8-15 |
96 |
270 |
370 |
|
108 ขึ้นไป |
270-500 กรัม |
370-500 กรัม |
คำแนะนำ
ควรอ่านคำแนะนำเอกสารกำกับปุ๋ยเคมีให้เข้าใจเสียก่อน หากไม่เข้าใจหรือมีปัญหาสงสัยให้ปรึกษา
เจ้าหน้าที่กรมวิชาการเกษตร กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง และกรมส่งเสริมการเกษตร ในท้องถิ่นเพื่อให้การใช้ปุ๋ยเคมีมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น